สีหลักของเว็บไซต์

สีหลักของเว็บไซต์ ที่เมนูสำหรับปรับแต่ง เลือก สีหลัก เลื่อนไปที่ส่วนที่ต้องการเปลี่ยนสี กดปุ่ม เลือกสี เลือกสีตามต้องการ สามารถกดปุ่ม ค่าหลัก เพื่อคืนค่าสีเป็นสีตั้งต้นของธีม กดปุ่ม บันทึกและเผยแพร่ เพื่อบันทึกข้อมูล

การเลือกธีม

การเลือกธีม เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ เปิดเมนูด้านข้าง เลือก ปรับแต่ง จะปรากฏเมนูสำหรับปรับแต่ง ด้านซ้ายมือ ที่หัวข้อ ธีมที่ใช้งานอยู่ กดปุ่ม เปลี่ยน จะปรากฏเมนูเปลี่ยนธีม นำเมาส์ไปวางบนธีมที่สนใจ กดปุ่ม ดูแบบสดก่อน จะมีตัวอย่างการใช้ธีมให้ดู และมีเมนูปรับแต่งธีมแสดงขึ้นมาด้านซ้ายมือ ให้กด บันทึกและเปิดให้ทำงาน จากนั้นเว็บไซต์จะถูกเปลี่ยนเป็นธีมที่เลือก            

ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน

ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน ที่หน้าปรับแต่งพื้นฐาน ที่หัวข้อ ตั้งค่าอื่นๆ เปลี่ยน ชื่อนายก, ข้อความต้อนรับในหน้าแรก ตามต้องการ ถ้าต้องการแก้ไข รูปนายก ให้กดปุ่ม เปลี่ยนรูปภาพ เลือก อัปโหลดไฟล์ เพื่อเพิ่มรูปภาพใหม่จากคอมพิวเตอร์ของท่าน สามารถลากรูปภาพจากคอมพิวเตอร์มาวางที่หน้านี้เพื่ออัพโหลดได้เลย หรือกด เลือกหลายไฟล์ แล้วเลือกเอกสารที่ต้องการ แล้วกด Open เพื่อ อัพโหลด กด เลือกไฟล์ เพื่อตั้งเป็นรูปภาพของเว็บไซต์ หรือเลือก คลังไฟล์สื่อ เ

ข้อมูลการติดต่อ

ข้อมูลการติดต่อ ที่หน้าปรับแต่งพื้นฐาน ที่หัวข้อ ข้อมูลการติดต่อ เปลี่ยน ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์, หมายเลขโทรสาร, เวลาทำการ ตามต้องการ กดปุ่ม บันทึกและเผยแพร่ เพื่อบันทึกข้อมูล

โลโก้

โลโก้ ที่หน้าปรับแต่งพื้นฐาน ที่หัวข้อ โลโก้ กดปุ่ม เปลี่ยนรูปภาพ เลือก อัปโหลดไฟล์ เพื่อเพิ่มโลโก้ใหม่จากคอมพิวเตอร์ของท่าน สามารถลากโลโก้จากคอมพิวเตอร์ มาวางที่หน้านี้เพื่ออัพโหลดได้เลย หรือกด เลือกหลายไฟล์ แล้วเลือกเอกสารที่ต้องการ แล้วกด Open เพื่อ อัพโหลด กด เลือกไฟล์ เพื่อตั้งเป็นโลโก้ของเว็บไซต์ หรือเลือก คลังไฟล์สื่อ เพื่อเลือกไฟล์ที่เคยอัพโหลดไว้ก่อนหน้านี้ เลือกโลโก้ที่ต้องการจากรายการ กด เลือกไฟล์ เพื่อตั้งเป็นโลโก้ของเ

ชื่อเว็บไซต์

ชื่อเว็บไซต์ เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ เปิดเมนูด้านข้าง เลือก ปรับแต่ง จะปรากฏเมนูสำหรับปรับแต่ง ด้านซ้ายมือ เลือก พื้นฐาน จะปรากฏหน้าปรับแต่งพื้นฐาน ที่หัวข้อ พื้นฐาน เปลี่ยน ชื่อเว็บไซต์ ตามต้องการ กดปุ่ม บันทึกและเผยแพร่ เพื่อบันทึกข้อมูล

เมนูสำหรับผู้ดูแลระบบ

เมนูสำหรับผู้ดูแลระบบ เมนูสำหรับผู้ดูแลระบบ จะอยู่ในหน้าระบบหลังบ้าน เป็นเมนูอยู่ทางด้านซ้ายมือ ดังภาพ เมนูที่ใช้บ่อยมีดังนี้

การเข้าสู่ระบบ

การเข้าสู่ระบบ ผู้ดูแลระบบสามารถเข้าสู่ระบบเพื่อจัดการเว็บไซต์ได้ โดยไปที่เว็บไซต์ของท่าน แล้วตามด้วย /admin เช่น http://yourname.localgov59.in.th/admin เป็นต้น จะปรากฏหน้าสำหรับเข้าสู่ระบบ ดังภาพ ให้กรอก ชื่อผู้ใช้ และ รหัสผ่าน แล้วกด เข้าสู่ระบบ หลังจากเข้าสู่ระบบแล้วจะพบหน้าระบบหลังบ้าน สำหรับจัดการเว็บไซต์ ดังภาพ

รู้จักกับ WordPress

รู้จักกับ WordPress WordPress เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถจัดการกับเว็บไซต์ได้โดยผ่าน อินเทอร์เน็ตเบราเซอร์ ช่วยให้สามารถจัดการกับเว็บไซต์ได้โดยไม่จำเป็นต้องเขียนโค้ดทำให้สะดวกต่อการปรับแต่งเว็บไซต์ WordPress ถูกพัฒนามาจาก b2 aka cafelog โดย Matt Mullenweg และ Mike Littlej ในปี พ.ศ. 2546 เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน มีความสวยงาม และได้มาตรฐาน ด้วยความใช้ง่ายของ WordPress จึงมีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้นจำนวนมหาศาลในเวลาไม่นาน WordPress มีลิขสิทธิ์เ

เว็บโฮสติ้ง (Web Hosting)

เว็บโฮสติ้ง (Web Hosting) หมายถึงผู้ให้บริการ พื้นที่สำหรับวางเว็บไซต์ โดยมีบริการดูแล Server สำหรับให้เจ้าของเว็บไซต์นำเว็บไซต์ไปวาง มีทั้งแบบแชร์พื้นที่กับเว็บไซต์อื่นเพื่อประหยัดงบประมาณ หรือแบบทั้งเครื่องสำหรับเว็บไซต์เดียวเพื่อประสิทธิภาพ หรือบริการพื้นที่บน Cloud สำหรับการวางเว็บไซต์เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต คุณภาพที่ให้บริการมีแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ ปริมาณพื้นที่เก็บข้อมูล และความเร็วในการเรียกใช้แสดงผลเว็บไซต์

นามสกุลโดเมน

นามสกุลโดเมน สำหรับโดเมนที่มาจากประเทศไทย การจดจะแสดงได้ด้วยการลงท้ายด้วย .th ยกตัวอย่างเช่น  .co.th, .or.th หรือ .go.th โดเมนนามสกุล ความหมายของนามสกุลโดเมนต่างๆ .co.th แสดงความหมายเป็นเว็บไซต์ของบริษัท การจดทะเบียนชื่อโดเมน ต้องเป็นชื่อเดียวกับชื่อหรือ ชื่อย่อของบริษัท ซึ่งจดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ การจดทะเบียนต้องใช้สําเนาใบทะเบียนการค้า หรือสําเนาภ.พ. 20 เป็นหลักฐาน .or.th แสดงว่าเป็นเว็บไซต์ของส่วนราชการ ชื่อโดเมนต้องเ

โดเมน และ เว็บโฮสติ้ง

โดเมน (Domain name) โดเมน คือชื่อเว็บไซต์ เช่น localgov59.in.th หรือ dla.go.th หรือ sipa.or.th หรือ diversition.co.th เป็นต้น สับโดเมน (Subdomain) สับโดเมน คือชื่อย่อย ของเว็บไซต์ จะอยู่ในรูปแบบ ชื่อย่อย แล้วตามด้วย โดเมน อีกทีหนึ่ง เช่น theme1.localgov59.in.th (สับโดเมนชื่อ theme1 แล้วตามด้วย .localgov59.in.th) เว็บโฮสติ้ง (Web hosting) โฮสติ้ง คือ พื้นที่สำหรับนำข้อมูลของเว็บไซต์ไปวางไว้ เพื่อให้เข้าถึงได้ การทำเว็บไซต์ จำเป็นต้องมี โดเมน และ เว

ค่าใช้จ่าย และขั้นตอนการจดโดเมน .go.th

ค่าบริการ 1,070 บาท ต่อปี รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว เอกสารที่ต้องใช้ สำหรับการจดโดเมนครั้งแรก สำเนาเอกสารการจัดตั้งหน่วยงาน สำเนาบัตรประชาชนของนายก จดหมายขอจดโดเมน ดูตัวอย่างแบบฟอร์มได้ที่นี่ [ Form_Registration_GO-TH.PDF | Form_Registration_GO-TH.doc ] เอกสารที่ต้องใช้ สำหรับการย้ายโดเมนมาจดกับโครงการ จดหมายขอย้ายโดเมน [ Form_Transfer_GO-TH.PDF | Form_Transfer_GO-TH.DOC ] ขั้นตอนการจดโดเมน เตรียมเอกสารทั้งหมด แสกนเอกสาร หรือถ่ายรู...

หลักการจดโดเมนเนมสำหรับหน่วยงานภาครัฐ

เว็บไซต์สำหรับส่วนราชการ และโครงการในกำกับของหน่วยงานภาครัฐ จะต้องจดเป็นชื่อโดเมนเนม .go.th หรือ .or.th โดย ชื่อโดเมนจะต้องสอดคล้องกับ "หลักการตั้งชื่อโดเมน" และหากจดทะเบียนชื่อโดเมนภายใต้โครงการ ชื่อโดเมนจะต้องสอดคล้องกับชื่อโครงการนั้นๆ โดยมีเอกสารดังนี้ หนังสือรับรองการขอจดทะเบียนชื่อโดเมนถึงผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับ สูงของหน่วยงานต้นสังกัด (CIO : Chief Information Officer) หนังสือรับรองการใช้ชื่อโดเมนของหน่วยงานซึ่งออกโดย CIO ของหน่วยงานต้น...